วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
ความรู้ที่ได้รับ

  • การสร้างสรรค์หรือความคิดสร้างสรรค์นั้นสามารถสร้างได้โดยใช้วัสดุเหลือใช้ เด็กทุกคนสามารถริเริ่มสร้างสรรค์ได้เพราะว่าในบริบทเด็กได้มีประสบการเดิม อาจจะไม่ถึงการคิดที่ละเอียดลออเเต่เด็กก็กริเริ่มที่จะคิด เด็กบางคนอาจจะจินตนาการที่เเตกต่างกันไป เช่น ถ้าเรามองเห็นภูเขาเเล้วเราคิดถึงอะไร ทุกคนก็จัตอบคล้ายๆกัน ต้นไม้ น้ำ สัตว์ เเต่ถ้าคนที่มีความคิดสร้างสร้างในตัวนั้นเขาอาจจะตอบว่าภูเขาเหมือนขนมปัง นั้นคือเป็นการคิดเปรียบเทียบ จะทำให้เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ทางภาษาให้เด็ก
  • หลังจากนั้นอาจารย์ก็สอนให้นักศึกษาคิดคล่องเเคล่ว โดยการถามตอบ คำที่ขึ้นต้นด้วย กะ หรือ กระ ครั้งเเรกเพื่อนอาจจะตอบได้ช้า พอครั้งที่ 2 3 ตอบได้เร็วขึ้น
  • การกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์กับการเคลื่อนไหว เช่น การให้เด็กเต้นอารบิก จะสร้างสรรค์ท่าทางการเต้น โดยมีเพลงท่าทางตามอิสระ การเล่านเรื่องราว เเล้วให้เด็กเเสดงบทบาทสมมุติตามจินตนาการของเเต่ละคน
ภาพสรุปการเคลื่อนไหว

การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง

การเคลื่อนไหวตามเพลง

การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย

การเคลื่อนไหวความจำ

การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง

การเคลื่อนไหวผู้นำผู้ตาม


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำกิจกรรมการเคลื่อนไหวมาปรับใช้กับหน่วยที่เราจะสอนเด็กได สามารถทำให้เด็กนั้นมีความคิดสร้างสรรค์
ประเมินตนเอง
  • ตั้งใจฟังอาจารย์ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน มีจดบันทึกระหว่างที่สอน
ประเมินเพื่อน
  • เพื่อนเเต่ละคนให้ความร่วมมือ เเละตั้งใจทำกิจกรรมเพื่อเก็บเกี่ยวประสบการณ์
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา ได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้คิด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น