บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2
วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559
ความรู้ที่ได้รับวันนี้
เริ่มต้นการเรียนด้วยการดูวีดีโอการนั่งรถเมย์ในเมืองไทย
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น Piaget
เรียนเนื้อหาเรื่องการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
• การเล่น กระบวนการเรียนรู้
และประสบการณ์ที่เด็กได้รับทำให้เด็กเกิดความสนุกเพลิดเพลิน
ผ่อนคลาย
ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม
1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (SensorimotorPlay) สำรวจ จับต้องวัตถุ ยุติลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1 ½ - 2 ปี การเล่นที่ไม่มีขอบเขตจำกัด เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง
3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่างๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุด คือ การเล่นบทบาทสมมติ
ประเภทของการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- การเล่นกลางแจ้ง
- การเล่นในร่ม
1. สภาวะการเรียนรู้
เนื้อหาของสาระการให้ความรู้แก่เด็กโดยจัดสถานการณ์ให้เด็กเกิดการเรียนรู้
- การเรียนรู้คุณลักษณะและความเหมือน
- การเรียนรู้คุณลักษณะและความเหมือน
- การเรียนรู้และจินตนาการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
- การเรียนรู้เหตุและผล
- ต้องจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็กศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสมมีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
มีการสรุปท้ายกิจกรรม
หลักจากนั้นอาจารย์ให้ทำกิจกรรม มาสเมโล่ โดยกำหนดให้ต่อยังยังก็ได้โดยให้สูงที่สุด
โอยเเจกอุปกรณ์ ดังภาพ เเล้วเเบ่งกลุ่ม 5 คน
อาจารย์มีข้อกำหนดว่าห้ามให้ทุกคนพูดในระหว่างที่ลงมือทำ
ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็กศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสมมีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
มีการสรุปท้ายกิจกรรม
หลักจากนั้นอาจารย์ให้ทำกิจกรรม มาสเมโล่ โดยกำหนดให้ต่อยังยังก็ได้โดยให้สูงที่สุด
อาจารย์มีข้อกำหนดว่าห้ามให้ทุกคนพูดในระหว่างที่ลงมือทำ
ครั้งเเรกกลุ่มเราต่อได้ 37 ซม.
ครั้งที่ 2 ต่อได้ 48 ซม.
ครั้งที่ 3 ให้คนในกลุ่มพูดได้ 1 คน จึงต่อได้ 52 ซม.จะเห็ได้ว่าการต่อในเเต่ละครั้งมีการต่อที่สูงขึ้นตามลำดับ กิจกรรมนี้สอนให้เราได้รู้จักการวางเเผน
กิจกรรมที่ 2 เรือน้อยบรรทุกของ โดยอาจารย์เเจกกระดาษ 1 เเผ่น หลอดดูดน้ำ 4 หลอด หยังยาง 4 เส้น โดยให้เเต่ละกลุ่มออกเเบบเรือโดยบบรทุกซอสซองให้ได้มากที่สุด เเบ่งกลุ่ม 5 คน
นี่คือเรือของกลุ่มเราค่ะ บรรทุกซื้อได้ถึง 52 ซอง
นี่คือการออกมาลอยเรือของเพื่องเเต่งละกลุ่ม
กิจจกรรมที่ 3 การเเบชุดเเต่ละกลุ่ม อาจารย์จะเเจกเทปกาว 1 ม้วนต่อ 1กลุ่ม โดยการออกเเบบชุด โยมีเกณฑ์ ดังนี้ ทำเสื้อมีไหล่ มีเครื่องประดับ มีเเผงหลัง รองเท้า เป็นต้น
เเล้วให้เเต่ละกลุ่มออกมาเดินโชว์ พร้อมกับบรรยายเเรงบันดารใจในการทำชุดนี้ขึ้นมา
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำกิจกรรมมาใช้กับเด็กได้โดยเปลี่ยอุปกรณ์ให้เหมาะกับเด็กอย่างเช่น เปลี่ยนจากไม้จิ้มฟัน เป็นตะเกียง หรือไม้เสียบลูกชี้น
ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียน ร่วมทำกิจกรรมมีการเเสดงความคิดเห็นอยู่กับเพื่อนตลอดเวลา
ประเมินเพื่อน
- ตั้งใจทำกิจกรรม ช่วยกันออกเเบบเรือ ชุด ต่างๆ
ประเมินอาจารย์
- · อาจารย์พูดเพราะมีน้ำเสียงที่น่าฟัง ยกตัวอย่างกิจกรรมที่ใช้สอนเด็กได้ชัดเจน ระหว่างเรียนมีเกมหรือกิจกรรมให้เล่นให้ตอบอยู่เสมอๆ เเละกิจกรรมที่ทำสามารถนำไปสอนหรือประยุกต์ใช้ได้กับเด็กจริง การเรียนวิชานี้ทำให้ไม่เคลียดผ่อนคลายอยู่เสมอ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น