วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2559

        บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9
     วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2559
             ***หยุดเรียน วันปิยะมหาราช***

วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8
วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ความรู้ที่ได้รับวันนี้

วันนี้อาจารย์ให้ออกเเบบตัวเลข 0-9 ซึงดิฉันได้ออกเเบบตัวเลข 


         เเล้วนำไปติดบนกระดาน เเล้วอาจารย์ก็ถามวที่มาของการออกเเบบ ซึ่งดิฉันมองว่า เลข 0 มีลักษณะคล้อยดอกไม้ จึงเติมกลับดอก เเละเกสรดอกไม้ เป็นมุมมองของการเปรียบเทียบนั่นเอง

            เมื่อเสร็จเเล้วก็นำผลงานของตนเองมาระบายสีเเล้วตัดออกมาติดกับกระดาษเเข็งเพื่อที่จะทำเป็นสื่อการสอนความคิดสร้างสรรค์พร้อมบูรณาการคณิตศาสตร์ โดยจะทำสื่อเป็นกลุ่มตามตัวเลข 0-9 สื่อในที่นี่มีหลายอย่างเช่น สื่อประกอบการสอน สื่อประกอบนิทานเป็นต้น กลุ่มของดิฉันจึงตกลงกันว่าจะทำสื่อการสอน จะนำตัวเลขเเต่ละตัว ติดกระดาษเเข็งด้านซ้าย เเล้วนำไม้ไอติมที่อาจารย์เเจกมาให้เด็ก ต่อเป็นรูป อย่างเช่น เลข 3 ก็นให้เด็กนำไม้ไอติมมา 3 เเท่ง เพื่อต่อรูปเป็นสามเหลี่ยม โดยจะใช้ผ้าสักกะหลาดติดกับกระดาษ เเล้วนำตีนตุ๊กเเกมาติดไม้ไอติม พร้อมทำเฉลยให้เด็กดูจะเเอบซ่อนอยู่ในใต้ผ้าสักกะหลาด เดี๋ยวสัปดาห์หน้าเรามาดูกันว่า สื่อการสอนของกลุ่มดิฉันจะสวยเเค่ไหน

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • ความคิดสร้างสรรค์นั้น ครูสามารถจัดให้เด็ดถ่ายทอดออกมาโยการสอนผลงานได้ เพื่อที่จะสะท้อนความรู้ของเด็กเเต่ละคนออกมา ไม่มีถูกไม่มีผิด 
  • สามารถนำผลงานมาประยุกต์ใช้ในการออกเเบบสื่อการสอน สื่อประกอบนิทาน 
ประเมินตนเอง
  • ดั้งใจฟัง จดตามอาจารย์ ช่วยเพื่อนคิดงานกลุ่ม 
ประเมินเพื่อน
  • เพื่อนชอบกิจกรรมออกเเบบมาก ช่วยกันระดมความคิดงานกลุ่ม 
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์ช่วยเเนะนำการออกเเบการทำสื่อให้สามารถใช้ได้นานๆ เหมาะสำหรับเด็ก

วันอังคารที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7
วันจันทร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ความรู้ที่ได้รับวันนี้


1.คิดริ่เริ่ม คือ เด็กได้ลงมือทำเเล้วจึงเกิดการคิดริ่เริ่ม
2.คิดคล่องเเคล่ว เมื่อเด็กทำบ่อยเกิดความชำนาญ
3.คิดยืดหยุุ่น เมื่อทำบ่อยรู้จักปรับใช้ให้ดีขึ้น
4.คิดละเอียดละออ เก็บรายละเอียดในการลงมือทำให้ดีขึ้น
5.คิดสร้างสรรค์ นำมาสู่การคิดสร้างสรรค์โดยการลงมือทำ
  • ครูต้องจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้เด็กเพื่อให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ 
1.กิจกรรมที่เเก้ไขปัญหา
2.กิจกรรมที่ใช้วัสดุแุปกรณ์จากเดิมเป็นเเบบใหม่
บทบาทของครูในการจัดกิจกกรรมสร้างสรรค์
1.เชื่อมั่นในตัวเด็ก
2.ครูต้องยอมรับในควมเเตกต่าง
3.ดึงศักยภาพในตัวครูออกมาใช้
4.ไม่มีการเปรียบเทียบผลงานเด็ก
  • การเรียนวันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรมสร้างสรรค์โดยให้มีการบรูณาการกับวิชาอื่น กิจกรรมทั้งหมดมี 4 ฐานดังต่อไปนี้ 

ฐานที่ 1 จะเป็นการทำของเล่นวิทย์ยาศาสตร์ โดยอาจารย์กำหนดหน่วยเเมลง โดยนำเเกนกระดาษทิชูมาตัตเเบ่งเป็น 3 ส่วน นำ 1 ส่วนพับลงมาเจาะรู 2 รู นำเชือกรอยตามรูที่เจาะ สามารถคล้องคอเด็กได้ยาวประมาณใต้สะดือ วาดรูปแมลงติดลงบนเเกนทิชู่ด้านใดด้านหนึ่ง วิธีเล่นคือ นำมาคล้องคอ ใช้มือทั้ง 2 ข้างจับเชือก ค่อยดึงเชือกทั้ง 2 ข้างให้เเกนทิชู่ขึ้นมาด้านบน กิจกรรมนี้บรูณาการวิทย์ศาสตร์ สอนเเรงเสียดทานของเชือก ศิลปจากการวาดภาพ


ฐานที่ 2 เป็นฐานศิลป โดยใช้สีน้ำทาลงมือพิมลงกระดาษ ตกเเต่งทำเป็นรูปผีเสื้้อ เเล้วใช้กรรไกรตัดรูปออกมา เเล้วตัดกระดาษยาวกว่ารูปผีเสื้อ กว้าง 1 ข้อมือ ใช้กาวติดปลายกระดาษที่ตัดด้านหลังของผีเสื้อ จะทำให้บินของผีเสื้อสามารถขยับได้ สามารถบูรณาการ ศิลป สอนลักษะการบินของผีเสื้อ

ฐานที่ 3 ทำของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อะไรก็ได้ โดยอาจารย์กำหนดให้ใช้จานกระดาษ 1 ใบ ดิฉันจึงทำสายรุ้ง เพื่อที่จะสอนเรื่องสี ให้เเกเด็ก สามารถบูรณาการศิลป


ฐานที่ 4 การเป่าสีให้เป็นฟองลงบนกระดาษ สามารถบูรณาการคณิตศาสตร์รูปวงกลม วิทยาศาสตร์การเกิดฟอง ศิลป
  • สรูปกิจกรรม ที่จัดขึ้นวันนี้สามารถเชื่องโยงให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ จากการที่ให้เด็กได้ลงมือกระทำผลงานของตนเองโดยที่ครูจะต้องจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กได้คิด ได้ลงมือกระทำ 

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำกิจกรรมมาใช้กับเด็กได้โดยประยุกต์เป็นหน่อยอื่นๆหรืออาจจะเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะกับยุคนี้ 
ประเมินตนเอง
  • ตั้งใจเรียน ร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อน ชอบกิจกรรมเพื่อที่จะได้ให้เราเห็นภาพมากขึ้นจะได้นำไปใช้กับเด็กได้ 
ประเมินเพื่อน
  • ตั้งใจทำกิจกรรม สนุกกับกิจกรรมโดยเฉพาะกิจกรรมพิมพ์มือจากผีเสื้อ
ประเมินอาจารย์
  • อยากให้อาจารย์สอนทำกิจกรรมบ่อยๆเพื่อที่ได้เห็นภาพชัด เเละสามารถนำไปใช้ได้จริง 

วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนรู้ครั้ง ที่ 6

วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2559


ความรู้ที่ได้รับ
  • วันนี้อาจารย์ให้เเต่ละกลุ่มสอนออกมาสอน พร้อมกับเชื่อมการเสอนเเบบ STERM

วันนี้กลุ่มเรานำเสนอ การสอนเเบบ sterm ในหน่วยยานพาหนะ
โดยเลือกกิจกรรมหุ่นนิ้ว  เเนวคิด ประเภทของยานพาหนะ ทำหุ่นนิ้วรูปยานพาหนะ เช่น รถยนต์ เรือ เครื่องบิน 
ก่อนที่สอนเรานำเสนอแผนการสอนมีตัวอย่างหุ่นนิ้วให้เด็กดู พร้อมกับเเนะนำอุปกรณ์ในการทำเสร็จเเล้วครูเเจกอุปกรณ์เเเต่ละกลุ่มให้เด็กทำ
นี่คือผลงานหิ้นนิ้วยยานพาหนะเเต่ละกลุ่ม

นี่คือผลงานของหน่วยบ้าน โดยให้เเต่ละกลุ่มออกเเบบบ้าน

นี่คือผลงานของหน่วยผลไม้ โดยให้เเต่ละกลุ่มออกเเบบมงกุฎผลไม้

นี่คือผลงานของหน่วยผลไม้ โดยให้เเต่ละกลุ่มประดิดผลไม้

นี่คือผลงานของหน่วยไข่ โดยให้เเต่ละกลุ่มออกเเบบตุ๊กตาล้มลุกจากเปลือกไข่

นี่คือผลงานของหน่วยปลา  โดยให้เเต่ละกลุ่มออกเเบบตัวปลาจากจานกระดาษ
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
  • สามารถนำการสอนเเต่ละรูปเเบมาปรับใช้ให้เหมาะกับการสอนเเบบสเต็มได้ 
  • นำกิจกกรมของเพื่อนมาปรับใช้ในการสอนอนาคตข้างหน้าให้ดีขึ้นตามคำเเนะนำของอาจารย์
ประเมินตนเอง
  •  วันนี้การสอนยังไม่ออกมาดีอย่างที่หวัง เพราะว่ากลุ่มเรายังไม่มีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้า ผลจึงออกมาไม่ค่อยดีเท่าที่คาดหวัง
ประเมินเพื่อน
  • ตั้งใจทำกิจกรรม บางกลุ่มก็เตรียมอุปกรณ์ การสอนมาอย่างดี มีความเตรียมพร้อม
ประเมินอาจารย์
  •       อาจารย์คอยเเนะนำว่าการสอนศิลปะหรือกิจกรรมสร้างสรรค์เเต่ครั้งต้องมีตัวอย่างกิจกรรมให้เด็กดูเพื่อให้เห็นว่าเมื่อทำเเล้วผลงานควรออกมาเป็นลักษณะเเบบใด